Dhamek India Tours

Dhamek India Tours ALL BUDDHA PILGRIMAGE INDIA & NEPAL TOUR SERVICE'S

วันวิสาขบูชา เป็นวันที่สมเด็จพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ซึ่งเกิดขึ้นในวันและเดือนเดียวกัน คื...
23/05/2024

วันวิสาขบูชา เป็นวันที่สมเด็จพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ซึ่งเกิดขึ้นในวันและเดือนเดียวกัน คือ ในวันเพ็ญ (ขึ้น ๑๕ ค่ำ) เดือนหก หรือเดือนเวสาขะ พระจันทร์เสวยวิสาขฤกษ์
เหตุการณ์ดังกล่าวนี้ได้เกิดขึ้นเมื่อกว่าสองพันห้าร้อยปีมาแล้ว ในห้วงระยะเวลาที่ต่างกันคือ
ครั้งแรก เมื่อพระพุทธเจ้าประสูติเป็นเจ้าชายสิทธัตถะ โอรสพระเจ้าสุทโธธนะ และ พระนาง สิริมหามายาแห่งกรุงกบิลพัสดุ์ โดยประสูติที่ป่าลุมพินีวัน ณ เขตแดนรอยต่อระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์ของฝ่ายพระราชบิดากับกรุงเทวทหะของฝ่ายพระราชมารดา
ครั้งที่สอง เกิดเมื่อเจ้าชายสิทธัตถะ ออกทรงผนวชได้ ๖ ปี พระชนมายุ ๓๕ พรรษา ได้ตรัสรู้พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ เป็นอรหันตพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ณ ริ่มฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา
ประเทศมคธปัจจุบันคือที่ตั้งพุทธคยา
ครั้งที่สาม เกิดเมื่อพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จดับขันธ ปรินิพพาน เมื่อพระชนมายุ ๘๐ พรรษา ณ เมืองกุสินารา

23/05/2024

Wishing everyone happiness at Buddha Jayanti! On this day of Buddha Purnima, may you be blessed with the gifts of mental peace, spiritual growth and enlightenment. Wishing you all a happy Buddha Purnima! May the wisdom of Buddha fill your life with joy, peace and harmony.

31/03/2024
14/10/2023




🚶‍♀️My journey will always make my life colorful, energetic, and flavorful.การเดินทางของฉันมันจะทำให้ชีวิตมีสีสัน มีพลัง...
28/09/2023

🚶‍♀️My journey will always make my life colorful, energetic, and flavorful.
การเดินทางของฉันมันจะทำให้ชีวิตมีสีสัน มีพลัง มีรสชาติเสมอ🚶‍♀️🏋‍♀️

my journey✈️
23/09/2023

my journey✈️

19 กันยายน 2566 “วันคเณศจตุรถี” ฤกษ์มงคลบูชาพระพิฆเนศ เพราะถือเป็นช่วงเวลาที่พระองค์จะเสด็จลงมายังโลกมนุษย์เพื่อประทานพร...
19/09/2023

19 กันยายน 2566 “วันคเณศจตุรถี” ฤกษ์มงคลบูชาพระพิฆเนศ เพราะถือเป็นช่วงเวลาที่พระองค์จะเสด็จลงมายังโลกมนุษย์เพื่อประทานพรแก่ผู้ศรัทธา

“วันคเณศจตุรถี” เป็นวันไหว้พระพิฆเนศที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ในบางตำราอาจบอกว่าเป็นวันประสูติของพระคเณศ ทำให้หลายคนสับสนกับ “วันคเณศชยันตี” ซึ่งเป็นวันประสูติของพระองค์เหมือนกัน

แต่ถ้าอิงจากชาวฮินดูในรัฐมหาราษฏระ รัฐที่บูชาพระคเณศเป็นใหญ่และบูชาอย่างเคร่งครัด จะถือว่าวันนี้นั้นเป็น “วันเฉลิมฉลององค์พระคเณศอันยิ่งใหญ่

🙏วันเข้าพรรษา (The Buddhist Lent Day)ใกล้ถึงเทศกาลวันเข้าพรรษาแล้วนะคะ วันนี้ก็เลยขอเอาประวัติวันเข้าพรรษามาให้อ่านกันค่...
02/08/2023

🙏วันเข้าพรรษา (The Buddhist Lent Day)
ใกล้ถึงเทศกาลวันเข้าพรรษาแล้วนะคะ วันนี้ก็เลยขอเอาประวัติวันเข้าพรรษามาให้อ่านกันค่ะ

Vassa (from Pali vasso, Sanskrit varṣaḥ, both “rain” – Burmese: Burmese pronunciation: [wàdwín]; Khmer: or;Lao: [pʰán sǎː], sometimes [wāt sǎː]; Thai: พรรษา, phansaa), also called Rains Retreat,or Buddhist Lent, is the three-month annual retreat observed by Theravada practitioners. Taking place during the rainy season, Vassa lasts for three lunar months, usually from July (the Burmese month of Waso) to October (the Burmese month of Thadingyut )

For the duration of Vassa, Bhikkhus remain inside monasteries and temple grounds.In some monasteries, monks dedicate the Vassa to intensive meditation.Some Buddhist lay people choose to observe Vassa by adopting more ascetic practices, such as giving up meat, alcohol, or smoking.While Vassa is sometimes casually called “Buddhist Lent“, others object to this terminology.

Vassa is followed by Kathina, a festival in which the laity expresses gratitude to monks. Lay Buddhists bring donations to temples, especially new robes for the monks.
The Vassa tradition pre-dates the time of the historical Buddha. It was a long standing custom for mendicant ascetics in India not to travel during the rainy season as they may unintentionally harm crops, insects or even themselves during their travels.

Many Buddhist asectics live in regions which don’t have rainy seasons and therefore Vassa is not observed worldwide.

🙏วันเข้าพรรษา (บาลี: วสฺส, สันสกฤต: วรฺษ, อังกฤษ: Vassa) เป็นวันสำคัญในพุทธศาสนา ที่พระสงฆ์เถรวาทจะอธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง ตลอดระยะเวลาฤดูฝนที่มีกำหนดเป็นระยะเวลา 3 เดือน ตามที่พระธรรมวินัยบัญญัติไว้ โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น หรือที่เรียกติดปากกันโดยทั่วไปว่า จำพรรษา (“พรรษา” แปลว่า ฤดูฝน, “จำ” แปลว่า พักอยู่) พิธีเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระสงฆ์โดยตรง ละเว้นไม่ได้ ไม่ว่ากรณีใด ๆ ก็ตาม การเข้าพรรษาตามปกติเริ่มนับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี (หรือเดือน 8 หลัง ถ้ามีเดือน 8 สองหน) และสิ้นสุดลงในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือวันออกพรรษา
วันเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8) หรือเทศกาลเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึง วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) ถือได้ว่าเป็นวันและช่วงเทศกาลทางพระพุทธศาสนาที่สำคัญเทศกาลหนึ่งในประเทศไทย โดยมีระยะเวลาประมาณ 3 เดือนในช่วงฤดูฝน โดยวันเข้าพรรษาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ต่อเนื่องมาจากวันอาสาฬหบูชา (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8) ซึ่งพุทธศาสนิกชนชาวไทยทั้งพระมหากษัตริย์และคนทั่วไปได้สืบทอดประเพณีปฏิบัติการทำบุญในวันเข้าพรรษามาช้านานแล้วตั้งแต่สมัยสุโขทัย

สาเหตุที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตการจำพรรษาอยู่ ณ สถานที่ใดสถานที่หนึ่งตลอด 3 เดือนแก่พระสงฆ์นั้น มีเหตุผลเพื่อให้พระสงฆ์ได้หยุดพักการจาริกเพื่อเผยแพร่ศาสนาไปตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นไปด้วยความยากลำบากในช่วงฤดูฝน เพื่อป้องกันความเสียหายจากการอาจเดินเหยียบย่ำธัญพืชของชาวบ้านที่ปลูกลงแปลงในฤดูฝน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ช่วงเวลาจำพรรษาตลอด 3 เดือนนั้น เป็นช่วงเวลาและโอกาสสำคัญในรอบปีที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่จำพรรษารวมกันภายในอาวาสหรือสถานที่ใดสถานที่หนึ่ง เพื่อศึกษาพรธรรมวินัยจากพระสงฆ์ที่ทรงความรู้ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ด้วย
ในวันเข้าพรรษาและช่วงฤดูพรรษากาลตลอดทั้ง 3 เดือน พุทธศาสนิกชนชาวไทยถือเป็นโอกาสอันดีที่จะบำเพ็ญกุศลด้วยการเข้าวัดทำบุญใส่บาตร ฟังพระธรรมเทศนา ซึ่งสิ่งที่พิเศษจากวันสำคัญอื่น ๆ คือ มีการถวายหลอดไฟหรือเทียนเข้าพรรษา และผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) แก่พระสงฆ์ด้วย เพื่อสำหรับให้พระสงฆ์ได้ใช้สำหรับการอยู่จำพรรษา โดยในอดีต ชายไทยที่เป็นพุทธศาสนิกชนเมื่ออายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดฤดูพรรษากาลทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า “บวชเอาพรรษา
ขอขอบคุณ : http://en.wikipedia.org/wiki/Vassa http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%B2

🙏วันอาสาฬหบูชา (Asalha Puja Day)🙏
01/08/2023

🙏วันอาสาฬหบูชา (Asalha Puja Day)🙏

04/12/2022



Namaste my friends🥰😍
03/12/2022

Namaste my friends🥰😍

May you have the best of times, celebration, and success in life this year. Best wishes for a joyous Navratri, filled wi...
27/09/2022

May you have the best of times, celebration, and success in life this year. Best wishes for a joyous Navratri, filled with lots of joy, happiness, and peace.

The day of Dhanteras is very important in the five days of holy festival of Diwali. On the day of Dhanteras, it is belie...
02/11/2021

The day of Dhanteras is very important in the five days of holy festival of Diwali. On the day of Dhanteras, it is believed that God blesses her devotees with money and grains. The worship of Goddess Lakshmi, Lord Dhanvantari and Lord Kubera has special significance on this day. According to the scriptures, Lord Dhanvantari was born two days before Diwali. On this day during the churning of the ocean, he appeared with an urn filled with nectar in his hands, that is why he is also called the god of medicine.

Address

NAI BAZAR PATERWA SARNATH VARANASI
Varanasi
221007

Opening Hours

Monday 9am - 6pm
Tuesday 9am - 6pm
Wednesday 9am - 6pm
Thursday 9am - 6pm
Friday 9am - 6pm
Saturday 9am - 4pm
Sunday 9am - 4pm

Telephone

+919696049694

Alerts

Be the first to know and let us send you an email when Dhamek India Tours posts news and promotions. Your email address will not be used for any other purpose, and you can unsubscribe at any time.

Contact The Business

Send a message to Dhamek India Tours:

Videos

Share

Category

dhamek india tours

WE ARE PROVIDE THE BEST SERVICES FOR ALL BUDDHA PILGRIMAGE INDIA & NEPAL WITH 13 YEARS EXPERIENCE OF TOUR & TRAVEL

E-mail-;[email protected]@hotmail.com Call-;+919696049694