Use Space Arts Space About Use Space

Amongst the changes within the analogue era towards turning to the full blown digital era and for getting ready to join the ASEAN.

The exchange of information and communications are fast growing, mainly derived from the social media. Social media is very important for communications nowadays, which caused the formation of groups from small to organization size and spread to the art circle aswell. Use Space started of as a small show case area amongst a small circle of artistic friends. When there is no exhibition, artists go

their separate ways to find jobs for survival, mainly stay in Bangkok, amidst the growing Thai art culture in Thailand. Use Space is another alternative to many available big or small spaces in Bangkok. Use Space is not a fixed artist space and is not supported by any artistic institutes of Thailand. It derived purely from ideas amongst artistic friends that have the common interest in having an exhibition space from the empty space that we already have. A space that we can exhibit our paintings amongst our small circle of artistic friends to share on our thoughts and learn from each other’s experience and ofcourse, in connection with art. If we were to look from the historical side of arts, art is not restriceted only to be found in organisations or art institutes but can be found in small space like ours – Use Space.

ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของยุคอนาลอก เพื่อก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัลอย่างเต็มตัว รวมทั้งการเตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การแลกเปลี่ยนข้อมูลละติดต่อสื่อสารอันรวดเร็วนี้โดยส่วนใหญ่ โซเชียลมีเดียมีความสำคัญในการติดติอสื่อสาร ทำให้เกิดการรวมตัว รวมกลุ่ม ตั้งแต่กลุ่มเล็กๆจนถึงองค์กรขนาดใหญ่ และในวงการศิลปะก็เช่นกัน
Use Space คือพื้นที่ขนาดเล็กๆแรกเริ่มสำหรับแสดงงานของกลุ่มเพื่อน ซึ่งต่างแยกย้ายกันไปประกอบอาชีพเพื่อหาเงินในการดำรงชีวิต(ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในกรุงเทพ) ท่ามการการเติบโตของศิลปะในเมืองไทย Use Space เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่เป็นพื้นที่ทางเลือกท่ามกลางพื้นที่น้อยใหญ่ที่มีมากมายในกรุงเทพ Use Space ไม่ใช่พื้นที่ทางศิลปะที่ตายตัวและไม่มีการสนับสนุนจากองค์กรทางศิลปะ เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนความคิดกันระหว่างเพื่อนว่าอยากจะมีพื้นที่ขนาดย่อมซื่งเป็นพื้นที่มีอยู่แล้ว ถูกจัดสรรสำหรับเอางานมาโชว์ในกลุ่มเล็กๆ เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงาน(ประกอบอาชีพส่วนตัว)และเกี่ยวกับงานศิลปะ หากมองในโครงสร้างทางประวัติศาสตร์ของศิลปะแล้วพื้นที่และการสร้างสรรค์ไม่จำเป็นต้องถูกจำกัดอยู่ที่องค์กรและสถาบันทางศิลปะแต่เพียงอย่างเดียวอีกต่อไป

https://www.facebook.com/share/p/MzM9M81NZBFZ4iWK/?mibextid=WC7FNe
11/03/2024

https://www.facebook.com/share/p/MzM9M81NZBFZ4iWK/?mibextid=WC7FNe

- - - -
黄金町アーティスト・イン・レジデンスへの参加者の募集を開始しました!
※申込締切:2024年3月31日(日)
- - - -
NPO法人黄金町エリアマネジメントセンターでは、国内外のアーティストや工芸家、デザイナー、建築家など、様々な分野で活動する人を対象に、アーティスト・イン・レジデンスプログラムを実施しています。

今回は2024年7月以降入居の[長期レジデンス][短期レジデンス]への申し込みを受付中。申込締切は3月31日(日)となっています。

詳細はこちらから!
https://koganecho.net/air/application
みなさんのご応募お待ちしてます🏃‍♂️

- - - -
Call for applications for the Koganecho Artist-in-Residence program is now open!
**Application deadline: 3/31(Sun.)
- - - -
The Koganecho Area Management Center (KAMC) runs an artist-in-residence program for domestic and foreign artists, craftspeople, designers and architects engaged in all kinds of creative activities.

We are accepting applications for [short-term residencies]and [long-term residence] from July. The deadline for applications is March 31st.

https://koganecho.net/air/application

03/08/2022

ปี 2444 ที่หมู่บ้านสะพือ อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี เคยเป็นพื้นที่สังหารที่เรียกกันว่าศึกโนนโพธิ์ เนื่องจาก...

30/07/2022
12/06/2022

ถนอม ชาภักดี กับมุมมองที่ว่าศิลปะไม่ใช่ของสูงส่ง แต่มันคือคือพื้นที่ที่มีเสรีภาพในการแสดงออกของปัจเจกโ...

23/05/2022

🎨 คุณคิดว่า ศิลปะสำคัญอย่างไร?
-
มันก็เป็นสิ่งที่จรรโลงชีวิตนะ คืออย่างผม ผมเป็นคนชอบวาดรูปตั้งแต่เด็กก็เลยเอ็นจอย เวลาเราเห็นพวกงานอาร์ต แต่ผมก็ไม่ได้เป็นพวกผู้เชี่ยวชาญ แต่พอได้เห็นงานอาร์ตที่สวยๆ อย่างผมชอบวิ่งพวก city run พอเห็นเป็นสตรีตอาร์ตสวยๆ ก็เข้าไปดู ผมว่ามันเป็น creativity ที่สำคัญ เพราะมันแสดงมิติของเมืองด้วยนะ เมืองที่มันมีอาร์ตมันแสดงถึงความก้าวหน้าและความน่าอยู่ในระดับหนึ่ง เพราะว่าคนที่มีเวลามา appreciate สิ่งที่มันไม่ใช่แค่ทำมาหากินหรืออะไรอย่างนี้ ผมว่าอันแรกคือมันเป็นสิ่งที่จรรโลงใจ ซึ่งผมว่าดี ในฐานะวิศวะเองเราก็อาจจะไม่ได้เชี่ยวชาญมาก แต่เราก็เอ็นจอยกับการดูมันน่ะ ผมก็ว่านี่เป็นเรื่องหนึ่ง

แล้วนอกจากแง่ของจรรโลงใจแล้ว งานอาร์ตมันก็มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ (economy value) ที่สูงมากนะ แล้วผมว่าคำว่าอาร์ตไม่ได้รวมเฉพาะแค่รูปภาพ มันรวมถึงดนตรี หนัง อะไรด้วย แล้วเป็นเศรษฐกิจที่ยิ่งใหญ่มาก ตรงนี้มันคือส่วนหนึ่งของ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (ceative economy) นะ คือมันสร้างจากความที่ไม่มีอะไรขึ้นมา ซึ่งผมว่าสิ่งนี้คือตัวที่จะขับเคลื่อนเมืองในอนาคตเลย ผมว่าเรื่องครีเอทีฟอีโคโนมี ซึ่งอาร์ตก็เป็นส่วนหนึ่ง มันก็เป็นตัวสำคัญที่จะต้องให้ความสำคัญเราจะเพิกเฉยไม่ได้แล้วแหละ ทั้งในแง่ของความจรรโลงใจ ทั้งในแง่ความจำเป็นในแง่ของเศรษฐกิจ

ผมเคยอ่านหนังสือเล่มหนึ่งของ โจอิ อิโต (Joi Ito) ที่เขาอยู่ MIT Media Lab เขาพูดถึงงานในอนาคต (หนังสือ Whiplash: How to Survive Our Faster Future) เขาบอกเด็กสมัยผมเนี่ย เราจะวิ่งหางาน แต่เด็กสมัยใหม่สร้างงานเองแล้ว พอเด็กมันครีเอตงานเอง เพราะมันคือครีเอทีฟมันคืออาร์ต ฉะนั้นเราต้องมีระบบนิเวศ (ecosystem) ที่เหมาะที่จะให้เด็กรุ่นใหม่เขาสามารถเป็นดอกไม้ที่ผลิบานได้ คือรัฐต้องใส่ใจตรงนี้ให้มากขึ้น

23/05/2022

BRIEF: ‘ตะวัน’ อดอาหารเข้าสู่วันที่ 34 ศูนย์ทนายฯ แจ้งอาการ มีเลือดออกตามไรฟัน-เขียนหนังสือไม่ได้แล้ว
วันนี้ (23 พ.ค. 2565) เข้าสู่วันที่ 34 ที่ ตะวัน–ทานตะวัน ตัวตุลานนท์ นักกิจกรรมทางการเมืองวัย 20 ปี อดอาหารในเรือนจำทัณฑสถานหญิงกลาง เพื่อเรียกร้องสิทธิการประกันตัว ภายหลังจากที่ศาลอาญาสั่งเพิกถอนประกัน ตั้งแต่วันที่ 20 เม.ย. เป็นต้นมา
ด้านศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนก็ได้ทวีตข้อความอัพเดตอาการล่าสุดของตะวัน หลังจากที่เข้าเยี่ยมในวันนี้ว่า
- หน้ามืดวันละสิบๆ รอบ แม้ขยับตัวเพียงเล็กน้อย
- เลือดออกตามไรฟัน
- น้ำหนักลดลงกว่า 4 กก.
- ตัวซีด ซูบผอม เห็นกระดูกไหปลาร้าชัด
- ดมยาดมตลอด
- อ่อนแรงมากจนเขียนหนังสือไม่ได้แล้ว
ทั้งนี้ ตะวันยังไม่ได้รับการปล่อยตัวจากเรือนจำ เนื่องจากต้องรอฟังการไต่สวนการประกันตัวที่ ทิม–พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคและ ส.ส.บัญชีรายชื่อพรรคก้าวไกล ใช้ตำแหน่ง ส.ส. ยื่น โดยศาลอาญาได้มีคำสั่งให้นัดในวันที่ 26 พ.ค. นี้
ศูนย์ทนายฯ ยังระบุในวันนี้ด้วยว่า ทนายความจะเข้ายืนหนังสือขอความเป็นธรรมต่ออัยการ ที่สำนักงานอัยการสูงสุด ถนนรัชดาภิเษก ในคดีของตะวัน
ก่อนหน้านี้ เมื่อวันที่ 20 พ.ค. ศาลอาญาได้มีคำสั่งให้ฝากขังตะวัน รวมถึง เก็ท–โสภณ สุรฤทธิ์ธำรง นักกิจกรรมจากกลุ่มโมกหลวงริมน้ำ ต่ออีกคนละ 7 วัน สำหรับคดีของตะวัน ศาลอ้างเหตุผลว่า อัยการรอความเห็นสั่งฟ้องจากกรรมการอัยการสูงสุด
อ่านเกี่ยวกับการอดอาหาร 1 เดือนของตะวัน และคดี ม.112 ที่ตะวันถูกกล่าวหาเพิ่มเติมได้ที่: https://thematter.co/social/tawan-hunger-strike/175484
อ้างอิงจาก

https://twitter.com/TLHR2014/status/1528619440660656128

https://twitter.com/TLHR2014/status/1528582504479092736

https://thematter.co/brief/175650/175650

04/05/2022

The Storage พื้นที่จัดเก็บ
กระบวนการสร้างความทรงจำของมนุษย์เกิดจากการรับข้อมูลเข้ามาจัดเก็บ และ แปลงผลด้วยกลไกของสมองซึ่งสามารถจดจำได้ในระยะสั้นก่อนจะพัฒนาเป็นการจดจำระยะยาว เมื่อเราใช้ข้อมูลเหล่านั้นซ้ำๆสั่งสมจนเกิดการสร้างเสถียรภาพแก่ความทรงจำ โดยจะถูกบรรจุลงไปในพื้นที่จัดเก็บภายในสมองของเรา เหมือนเป็นคลังเก็บสะสมเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆเอาไว้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องดีหรือเรื่องร้ายๆที่ไม่อยากจดจำ และ สิ่งที่ยากคือการลบความทรงจำที่เราไม่ต้องการออกไป จากพื้นที่จัดเก็บแห่งนี้

TheStorage จึงถูกสร้างขึ้นด้วยแรงบันดาลใจจากการตั้งคำถามกับตัวเองว่า หากเราไม่สามารถลบเรื่องราวในอดีตที่ไม่อยากจดจำออกไปได้ เราจะเผชิญหน้ากับสิ่งเหล่านี้และดำเนินชีวิตต่อไปอย่างไร ดังนั้นการนำภาพความทรงจำออกมาสร้างใหม่แล้วลดทอนความชัดเจนด้วยกระบวนการศิลปะ จึงเป็นวิธีทีที่ช่วยให้ความทรงจำเหล่านั้นพร่าเลือนลงได้ โดยนำเสนอผ่านมุมมองของการเรียนรู้ที่จะยอมรับ และ ดำรงอยู่กับปัจจุบันอย่างเข้าใจ ซึ่งพร้อมจะบันทึกความทรงจำใหม่เข้าไปในพื้นที่จัดเก็บ

สิทธินนท์ พงศ์รักธรรม

เรียบเรียงโดย วัลย์ลิตา อยุทธ์

The Storage
The process of creating human memory occurs from the receiving information and transforming the memory through the mechanism of the brain, which can be remembered in the short term and later developed into a long term memory. When we use that information repeatedly, it accumulates to create memory consistency that is packed into the storage area inside our brains. It's a storehouse where stories or occurrences are kept - whether they are good or bad stories - even those ones that we don't want to remember. The difficult thing is to erase the memories that we don't want in this storage.

‘The Storage’ is made out of inspiration from these memories. I asked myself, if we weren’t able to erase the past, how could we live with it, or how could we continue to live? Bringing out the memories to make room for new ones by decreasing clarity through the artistic process is a way to fade those memories away and to let go. By presenting the perspective of learning to accept and to live understandingly in the present, we can be ready to store new memories into the storage.


Sitthinon Phongraktham

Editor Wanlita Ayuth

ที่อยู่

184/7 ซอยหมู่บ้าศิรผล ต. สุเทพ อ. เมืองเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่50200
Chiang Mai
50200

เว็บไซต์

แจ้งเตือน

รับทราบข่าวสารและโปรโมชั่นของ Use Spaceผ่านทางอีเมล์ของคุณ เราจะเก็บข้อมูลของคุณเป็นความลับ คุณสามารถกดยกเลิกการติดตามได้ตลอดเวลา

แชร์


Chiang Mai สำนักงานตัวแทนจัดการท่องเที่ยวอื่นๆ

แสดงผลทั้งหมด