🌟บอกลาการวางผังแบบเดิม ที่ต้องอาศัยทักษะการเดินตามเข็มทิศที่หน้าจอ Controller 🚧✨
ด้วยฟังก์ชั่น CAD AR visual stakeout สามารถใช้งานอย่างง่าย เพียงนำเข้า File CAD แล้วเลือกจุดที่ต้องการ จะแสดงผลซ้อนกับภาพ AR ได้ทันที🎥
🌐 เลือกใช้ฟังก์ชั่นการวางผังที่สะดวก ทันสมัย ชัดเจน ด้วย CAD AR stakeout จาก CHC
Recap2024 from CHC Navtech Thailand
#chcnavtechthailand
#marine
#lidar
#gnss
🌳การสำรวจเก็บ Topo ด้วยการใช้งาน RTK ในพื้นที่ป่าไม้
แม้ในระยะทางที่ห่างไกล เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม CHC ยังคงทำงานได้อย่างถูกต้อง👍. ระยะทางการส่งค่าปรับแก้ของ iBase สามารถส่งได้ไกลถึง 8km.✨
ระยะการทำงาน RTK ของ CHC iBase ร่วมกับ Rover i76
#chcnavtechthailand
#rtk
#ibase
#i76
🔥 เดินทางออกสำรวจ ไปกับ CHC Navtech
#CHCnavtechThailand
#survey
🛰 ทางเรามีร่วมออกบูธในงาน GISTDA Thailand Space Week 2024 ที่เมืองทองธานี Impact Hall 9-10 งานจัดวันที่ 7-9 พฤศจิกายนนี้ นะครับ หากหน่วยงานใดสะดวก สามารถมาร่วมเดินในงานและแวะมาทักทายที่บูธได้นะครับ
#chcnavtechthailand
#gistda
#thailandspaceweek2024
🛰 วันนี้เรามีคลิปมาแสดงขั้นตอนการบิน Drone สำรวจเก็บข้อมูลด้วย LiDAR CHC รุ่น AA10 จำนวนการสะท้อน 8 returns ช่วยให้การเก็บข้อมูลภูมิประเทศมีรายละเอียดสูงและรวดเร็วกว่าการเดินสำรวจ ในตัวอย่างคลิปนี้เป็นการสำรวจพื้นที่ประมาณ 13 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 8,000 ไร่) ใช้เวลาในการเก็บข้อมูล 2-3 วัน
👷 โดยการทำงานจะมีการตั้ง GNSS บนหมุดออกที่ทราบค่าพิกัดเพื่อรังวัดแบบ Static แล้วประมวลผลกับ LiDAR ในรูปแบบ PPK (โดยไม่จำเป็นต้องมีการตั้งค่ารังวัด GCP เพิ่มเติม) ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล มีทั้งข้อมูลรายละเอียด 3 มิติของพื้นที่ / ข้อมูลที่ clean object บนพื้นดินออก ให้เหลือ DTM / การสร้างเส้นชั้นความสูงภูมิประเทศ เพื่อนำข้อมูลไปออกแบบก่อสร้างต่อไป
#CHCThailand
#CHCNavtechThailand
#drone
#lidar
#AA10
📌 สนใจข้อมูลเพิ่มเติม หรือ สนใจสาธิตการใช้งาน ติดต่อ
บริษัท ซีเอชซี นาฟเทค (ประเทศไทย) จำกัด
โท
🛰 นอกจากการใช้กล้อง RGB ในการย้อมสี Point cloud ที่ได้จากการเดินเก็บแบบ SLAM ของ RTK+SLAM รุ่น RS10 แล้ว / ทีมงานฝ่าย support ของบริษัทยังทดสอบการประยุกต์ upgrade นำภาพจากกล้อง RGB จำนวน 3 ตัวของเครื่อง RS10 มาประมวลผลภาพสามมิติ เพื่อให้ได้ภาพโมเดลสามมิติภาคพื้นดินที่ชัดเจน ดังคลิปที่แนบ
👷 อาจประยุกต์ใช้ตรวจสอบข้อมูลสำรวจสามมิติจากภาพที่ชัดเจน หรือวัดค่าระยะระหว่างจุดต่างๆได้
#CHCThailand
#CHCNavtechThailand
#rtkslam
#RS10
📌 สนใจข้อมูลเพิ่มเติม หรือ สนใจสาธิตการใช้งาน ติดต่อ
บริษัท ซีเอชซี นาฟเทค (ประเทศไทย) จำกัด
โทร 020141600
Email: [email protected]
🛰 วันนี้เรามาแนะนำขั้นตอนใช้งาน RTK SLAM รุ่น RS10 ในการรังวัดจุดพิกัดจากกล้อง จะช่วยทำให้สามารถคำนวณค่าพิกัดในจุดที่เห็นจากกล้อง ได้ทันที สะดวกในกรณีที่จุดนั้นไม่สามารถเข้าถึงได้
เพียงแค่คลิกจุดใดๆในภาพ จากนั้น LiDAR จะทำหน้าที่คำนวณค่าพิกัดให้เรา
#rtkslam
#rs10
#vilidar
#chcnavtechthailand
📌 สนใจข้อมูลเพิ่มเติม หรือ สนใจสาธิตการใช้งาน ติดต่อ
บริษัท ซีเอชซี นาฟเทค (ประเทศไทย) จำกัด
☎ 020141600
📧 [email protected]
www.chcthailand.com
✅ สำหรับบริษัท หน่วยงาน องค์กร ที่สนใจข้อมูลแผนที่ท้องน้ำ แบบรายละเอียดสูง โดยใช้ระบบ Multibeam ติดตั้งกับเรือสำรวจอัตโนมัติ Apache4 รังวัดค่าความลึก สามารถติดต่อมายังบริษัท CHC Navtech (Thailand) จำกัดได้นะครับ ทางเรามีทีมงานผู้เชี่ยวชาญให้คำแนะนำ และได้ข้อมูลความถูกต้องสูง สามารถนำข้อมูลประเมินแผนงานต่อไปได้อย่างถูกต้องต่อไป
#apache4
#multibeam
#chcnavtechthailand
#รับงานหยั่งน้ำ
#งานขุดลอก
📌 สนใจข้อมูลเพิ่มเติม หรือ สนใจสาธิตการใช้งาน ติดต่อ
บริษัท ซีเอชซี นาฟเทค (ประเทศไทย) จำกัด
☎ 020141600
📧 [email protected]
www.chcthailand.com
🛰 วันนี้ทางวิศวกรจากบริษัท CHC Navtech (Thailand) จำกัด จะมาแนะนำขั้นตอนการตั้งค่าเชื่อมต่อเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม GNSS รุ่น CHC i89 ให้สามารถส่งค่าปรับแก้แบบ RTK ไปยัง Drone ว่ามีขั้นตอนอย่างไรบ้าง เรามาอธิบายแบบละเอียด ถูกต้อง จากมืออาชีพด้านสำรวจครับ
👷 สำหรับลูกค้าที่มี Drone รุ่นที่รองรับค่าปรับแก้ RTK แบบ NTRIP เช่นรุ่น M350RTK, Mavic3E RTK / เราสามารถประยุกต์ใช้เครื่อง GNSS รุ่น CHC i89 ในการส่งค่าปรับแก้ RTK ให้กับ Drone ได้โดยตรง เพื่อความสะดวก ยืดหยุ่นในการทำงาน (แต่ทั้งนี้ ในการทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ เพื่อให้ได้ความถูกต้องสูง ควรจะมีการทำเป้า GCP ไว้ในพื้นที่ อย่างน้อย 5 เป้า เพื่อช่วยตรึงพิกัดภาพถ่ายให้แม่นยำมากขึ้น)
#chci89
#chcnavtechthailand
#dronertk
📌 สนใจข้อมูลเพิ่มเติม หรือ สนใจสาธิตการใช้งาน ติดต่อ
บริษัท ซีเอชซี นาฟเทค (ประเทศไทย) จำกัด
โทร 020141600
Email: [email protected]
🚀🌟 วันนี้เรามาแนะนำขั้นตอนการรังวัดในรูปแบบ Visual Survey จะเป็นเทคนิคการรังวัดพิกัดตำแหน่งด้วยภาพของ CHC รุ่น i89 จะช่วยให้สามารถรังวัดเก็บรายละเอียด Topo ไปยังจุดที่ไม่สามารถเข้าถึง หรือจุดที่มีความเสี่ยงในการรังวัดเช่น เกาะกลางถนน เส้นจราจร
✅ พร้อมกับมีการเทียบค่าความถูกต้องของการ Stakeout แบบ Visual Stakeout ไปยังจุดที่ รังวัดพิกัดตำแหน่งด้วยภาพ ว่ามีความคลาดเคลื่อนแตกต่างกันเท่าใด
✅ ทั้งนี้ เหมาะสำหรับหน่วยงานที่เก็บ Topo ด้วย GNSS ที่อาจจะเจออุปสรรคทั้ง โดย CHC i89 จะมาช่วยแก้ปัญหาการรังวัด ในกรณีที่การบดบังสัญญาณดาวเทียมของตึกสูง หรือ พื้นที่เข้าไม่ถึง หรือ บริเวณที่เสี่ยงต่อการรังวัด ได้
#chcnavtechthailand
#visualrtk
#cadstakeout
#i89
📌 สนใจข้อมูลเพิ่มเติม หรือ ทดสอบ Demo ติดต่อ
บริษัท ซีเอชซี นาฟเทค (ประเทศไทย) จำกัด
โทร 020141600
Email: [email protected]